SOUTH KOREA: Protecting the Independence of the National Human Rights Commission of Korea

January 21, 2008

I am writing this as a recipient of the Gwangju Human Rights Award to discharge an obligation I owe as a recipient of this award. One of the reasons for granting this award has been the interest to promote the spirit of the Gwangju uprising. The people who sacrificed their lives in Gwangju did so for the purpose of defending democracy in their country and to ensure that the human rights of all are respected in Korea. The realisation of their dream took time as the military and those who oppose democracy continued to suppress the freedom of the Korean people. The rooting of democracy in Korea took place through a hard struggle in which the Korean people paid a heavy sacrifice to ensure institutions that would guarantee freedom and respect for human rights for future generations.

In the subsequent period many beautiful flowers bloomed in the garden of democracy, fertilised by the blood and sacrifice of brave Koreans. One such flower was the National (NHRCK). This institution should remain a symbol of the Korean determination to make the protection of human rights one of the primary goals of the state.

If the NHRCK is to serve the purpose for which is has been created, which is to protect human rights, then it must remain independent. If the institution is subordinated to the office of the president who represents the executive, naturally this independence will be lost and in any case it will not be perceived as independent. Therefore the recommendation of the Presidential Transition Team to bring the NHRCK under the immediate control of the president, if implemented, will result in the loss of one of the very important gains of the people’s struggle for democracy and the protection of human rights.

The aim of your foundation is to promote the spirit of Gwangju. On that basis it is my view that your organisation should take a leading role in defending the NHRCK and defeating the realisation of the recommendation made by the Presidential Transition Team. The honours conferred on the recipients of the Gwangju award oblige me to express my sincere hope that you will do your utmost to defend the independence of this premier human rights institution. For that objective I extend my wholehearted solidarity.

Thank you.

Yours faithfully,

Basil Fernando
Executive Director
Asian Human Rights Commission

Please sign the Online Petition ‘Save the NHRCK’ which may be found at:
http://campaigns.ahrchk.net/savenhrck/

[Korean]

AHRC-OLT-001-2008-KO

2008년 1월 21일

이사장
518 기념재단
광주광역시 서구 상무동

친애하는 이사장님께,

한국 국가인권위원회의 독립성 보호

저는 광주인권상의 수혜자로 주어진 책임을 다하고자 이 글을 드립니다.이 상을 수여하는 이유 중의 하나는 광주민주화운동의 정신을 증진시키는데에 있습니다. 광주시민들은 한국 사회의 민주주의를 옹호하고 모든 이들의 인권이 존중되기를 보장하기 위해 자신의 삶을 희생하였습니다. 그러나 군사독재와 민주주의를 반대하는 자들이 민중의 자유를 끊임없이 억압해 왔기에 그들이 그  이상을 실현하는 데에는 시간이 걸렸습니다. 한국 민주주의는 한국인들이 미래세대들을 위해 자유를 보장하고 인권을 존중하는 제도를 확립하기 위해 감수한 크나 큰 희생과 혹독한 투쟁에 그 뿌리를 두고 있습니다.

이후에도 많은 아름다운 꽃들이 용감한 한국인들의 피와 희생으로 비옥해진 민주주의의 정원에서 만개하였습니다. 그 하나의 꽃이 바로 한국의 국가인권위원회입니다. 이 위원회는 인권 보호를 국가의 주요한 목표들 중 하나로 만들기 위한 한국인의 결정체의 상징으로 남겨져야 합니다.

만약 한국 국가인권위원회가 그 설립 목적 즉 인권 보호에 부합하기 위해서는 그 위원회는 독립되어야 합니다. 만약 그 위원회가 행정부를 대표하는 대통령 직속으로 종속된다면, 자연히 이 위원회의 독립성은 상실되고 그 어떠한 경우에도 독립적이라고 인식되지 않을 것입니다. 그러므로 한국 국가인권위원회를 대통령직속하에 둔다는 대통령직 인수위원회의 제안이 만일 이행된다면 민주주의와 인권의 보호를 위한 민중들의 투쟁에서 얻은 실로 중요한 성과중의 하나를 잃게 될 것입니다.

518 기념재단의 목적은 광주의 정신을 증진시키는 데에 있습니다. 이에 근거하여 기념재단이 한국 국가인권위원회를 보호하고 대통령직 인수위원회의 제안이 실현되지 않도록 선두 역할을 해야할 것입니다. 광주인권상의 수혜자에게 부여된 영광으로 저는 이 주요한 인권기구의 독립성을 보호하는데 기념재단이 심혈을 기울여 줄 것을 간절히 바랍니다.

이러한 목적으로 저의 진심어린 연대를 보내는 바입니다.

감사합니다.

 

바실 페르난도
위원장
아시아인권위원회

온라인 탄원서 ‘한국 국가인권위원회 구하기’에 서명해 주세요
http://campaigns.ahrchk.net/savenhrck/


[Thai]

(จดหมายเปิดผนึกของคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย) เกาหลีใต้ : การปกป้องความเป็นอิสระของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสาธารณรัฐเกาหลี

21 มกราคม 2551
หนังสือที่ AHRC-OLT-001-2008
จดหมายเปิดผนึกถึงมูลนิธิ 18 พฤษภา (The May 18th Foundation)
ประธานมูลนิธิ 18 พฤษภา (The May 18th Foundation)
5.18 Memorial Hall
Seogu, Sangmudong, 
Gwangju, Jeolla, 502-260
สาธารณรัฐเกาหลี (ประเทศเกาหลีใต้)
โทรศัพท์ : 82 62 456 0518 
โทรสาร : 82 62 456 0519

เรียน ประธานมูลนิธิ 18 พฤษภา (The May 18th Foundation)

เกาหลีใต้ : การปกป้องความเป็นอิสระของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสาธารณรัฐเกาหลี

21 มกราคม 2551

ข้าพเจ้าเขียนหนังสือฉบับนี้ในฐานะผู้ได้รับรางวัล The Gwangju Human Rights Award ซึ่งตระหนักถึงหน้าที่ที่จะต้องรับผิดชอบในรางวัลที่ได้รับมา โดยเหตุผลหนึ่งสำหรับรางวัลนี้ เนื่องจากการให้ความใส่ใจในการส่งเสริมจิตวิญญาณของการจลาจลกวางจู (The spirit of the Gwangju uprising) ประชาชนมากมายได้เสียสละชีวิตในกวางจูเพื่อประสงค์ที่จะปกป้องประชาธิปไตยในประเทศของพวกเขา และเพื่อทำให้แน่ใจว่าสิทธิมนุษยชนทั้งปวงได้รับการเอาใจใส่ในประเทศเกาหลี การไปให้ถึงซึ่งความฝันของพวกเขาได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาที่ทหารและผู้ซึ่งอยู่ตรงข้ามประชาธิปไตยต้องการหยุดยั้งอิสรภาพของประชาชนชาวเกาหลี การหยั่งรากของประชาธิปไตยในเกาหลีได้เกิดขึ้นท่ามกลางการต่อสู้ที่ยากลำบาก ประชาชนชาวเกาหลีได้เสียสละอย่างยิ่งเพื่อทำให้แน่ใจว่า สถาบันต่างๆจะได้รับหลักประกันในความเป็นอิสระและได้รับการเอาใจใส่อย่างแท้จริงเพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนสำหรับคนรุ่นต่อไปในอนาคต
ในช่วงเวลานั้น ดอกไม้ที่สวยงามมากมายได้แบ่งบานในสวนแห่งประชาธิปไตย อันเป็นผลผลิตมาจากเลือดและการเสียสละอย่างกล้าหาญของชาวเกาหลี ดอกไม้ดอกหนึ่ง คือ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสาธารณรัฐเกาหลี (The National (NHRCK)) สถาบันนี้ควรดำรงอยู่เป็นสัญญลักษณ์ของความมุ่งมั่นของชนชาวเกาหลีที่ต้องการปกป้องสิทธิมนุษยชนซึ่งเป็นฐานรากของเป้าหมายแห่งรัฐ
เมื่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสาธารณรัฐเกาหลีเป็นการแสดงถึงการน้อมรับเจตนารมณ์ที่ถูกสร้างขึ้น อันเป็นองค์กรที่เกิดขึ้นเพื่อปกป้องสิทธิมนุษยชน ดังนั้น มันจึงต้องดำรงไว้ซึ่งความเป็นอิสระ ถ้าหากสถาบันแห่งนี้ตกอยู่ภายใต้การควบคุมของสำนักประธานาธิบดีผู้ใช้อำนาจในฝ่ายบริหารแล้ว โดยธรรมชาติความเป็นอิสระนี้จะหายและในที่สุดก็จะไม่มีความเป็นอิสระอีกต่อไป เพราะฉะนั้นข้อเสนอแนะของประธานคณะทำงานเพื่อการเปลี่ยนผ่านสำหรับประธานาธิบดี (The Presidential Transition Team) ที่เสนอให้นำคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสาธารณรัฐเกาหลีไปอยู่ภายใต้การควบคุมโดยตรงต่อประธานาธิบดี ถ้ามันเป็นผลขึ้นมาจริง ก็จะเป็นเหตุให้เกิดความสูญเสียของผลพวงที่สำคัญยิ่งจากการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและปกป้องสิทธิมนุษยชนของประชาชน
เป้าหมายของมูลนิธิท่านก็เพื่อส่งเสริมจิตวิญญาณกวางจู ด้วยพื้นฐานดังกล่าว มันเป็นภาพของข้าพเจ้าที่ว่า องค์กรของท่านควรการดำเนินการด้วยการเป็นผู้นำการปกป้องคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งเกาหลี และทำลายความเชื่อมั่นในข้อเสนอแนะที่ทำโดยคณะทำงานเพื่อการเปลี่ยนผ่านสำหรับประธานาธิบดี ด้วยเกียรติยศแห่งการได้รับรางวัลกวางจูช่วยให้ข้าพเจ้ามีความหวังอย่างจริงจังว่า ท่านจะดำเนินการอย่างเต็มที่ในการปกป้องความเป็นอิสระของสถาบันสิทธิมนุษยชนที่สำคัญอย่างที่สุดนี้ เพื่อให้เป็นไปตามความตั้งใจที่ข้าพเจ้าต้องการขยายความร่วมแรงร่วมใจอย่างเต็มที่ของข้าพเจ้า 
ขอขอบพระคุณ
ด้วยศรัทธาและเชื่อมั่นในท่าน
บาซิล เฟอร์นันโด
ผู้อำนวยการบริหาร
คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่งเอเชีย

Document Type : Open Letter
Document ID : AHRC-OLT-001-2008
Countries : South Korea,